เอสซีจี กับ เอสบีเอส

กว่าศตวรรษที่ผ่านมา มีเครือข่ายธุรกิจหนึ่งซึ่งเผชิญสถานการณ์สำคัญๆ จำต้องปรับตัวครั้งใหญ่หลายครั้ง หลายครา  บ่อยครั้งโอกาสมาจากถึงอย่างไม่คาดคิด

อ่านเพิ่มเติม “เอสซีจี กับ เอสบีเอส”

เรื่องของAIS(อีกครั้ง)

temasekนับแต่นี้“ความอ่อนไหว”ของสาธารณชนที่มีต่อธุรกิจจะมีมากขึ้น นอกจากปัจจัยที่เกี่ยวข้องมีมากขึ้นแล้ว ยังมาจากกลไกอันซับซ้อนของธุรกิจไทยเองด้วย

อ่านเพิ่มเติม “เรื่องของAIS(อีกครั้ง)”

ชุมพล ณ ลำเลียง(4)

ด้วยพยายามมองชุมพล  ณ ลำเลียง ในภาพเชื่อมโยงกับ “ตัวตน”และ “สายสัมพันธ์”ของเขาเป็นการเฉพาะ หลังจากพิจารณาสถานการณ์และภาพใหญ่มามากแล้ว จากนี้ควรโฟกัสไปยังความสัมพันธ์วงกว้าง มิใช่เฉพาะเอสซีจี ทั้งระดับกิจการ และ ผู้คน

อ่านเพิ่มเติม “ชุมพล ณ ลำเลียง(4)”

ชุมพล ณลำเลียง(3)

 

ในช่วงเป็นผู้จัดการใหญ่เอสซีจี( 2536-2548) ถือเป็นทศวรรษของความผันแปรทางเศรษฐกิจไทยครั้งใหญ่   ผลงานและความสำเร็จสำคัญของ ชุมพล ณ ลำเลียง จึงอยู่ที่การแก้ปัญหาทางการเงิน ถือเป็นกระบวนการใหญ่ของการปรับโครงสร้างธุรกิจไทย อ่านเพิ่มเติม “ชุมพล ณลำเลียง(3)”

ชุมพล ณลำเลียง(2)

ความผันแปรและวิกฤติทางสังคม มักเป็นภาพสะท้อนสะเทือนภาพย่อยของสังคมเสมอ  ในยุคชุมพล   ณ ลำเลียง วิกฤติการณ์และโอกาสครั้งใหญ่ของเอสซีจีไม่ได้เกิดขึ้นครั้งเดียวเท่านั้น

  อ่านเพิ่มเติม “ชุมพล ณลำเลียง(2)”

ชุมพล ณ ลำเลียง(1)

“หากถามผมว่า ผู้นำนักธุรกิจคนใด แสดงบทบาทเชิงตัวแทน การปรับตัวของธุรกิจไทย ในช่วง3-4ทศวรรษสำคัญที่ผ่านมาได้อย่างน่าทึ่ง   ก็คงยกให้ ธนินท์ เจียรวนนท์” (จากเรื่อง ธนินท์ เจียรวนนท์ ” ) ขณะเดียวกัน หากมีคนถามว่า “มืออาชีพ”หรือลูกจ้างคนใด แสดงบทบาทเช่นนั้น ในช่วงใกล้เคียงกัน ผมก็คงตอบได้ทันทีว่า ชุมพล ณ ลำเลียง

อ่านเพิ่มเติม “ชุมพล ณ ลำเลียง(1)”

เรื่องราวSingTel กับTemasek

ปรากฏการณ์ SingTelในเมืองไทยดูตื้นเต้นและดราม่ามากขั้นทุกวัน   เช่นเดียวกับTemasek แห่งสิงคโปร์อยู่ในบทสนทนาอันเร้าใจของแวดวงตลาดหุ้นอยู่พักหนึ่ง     ภายใต้เรื่องราวที่ดูตื่นเต้นนั้น แท้จริงแล้ว SingTelกับTemasek กับสังคมธุรกิจไทย มีปฏิสัมพันธ์อย่างจริงจัง เป็นเรื่องยาว และตื่นเต้นด้วยตัวเองอยู่แล้ว อ่านเพิ่มเติม “เรื่องราวSingTel กับTemasek”

ปูนใหญ่เล็กไปแล้ว

                                    ผมไม่ได้เขียนถึงบุรุษผู้นี้มานานถึง 2 ปีเต็ม อันเป็นช่วงเดียวกับที่บทบาทของเขาเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมอย่างมากมาย ข้อต่อของสถานการณ์สำคัญได้เริ่มต้นเกิดขึ้นมาตั้งแต่วิกฤติการณ์เมื่อ 5-6 ปีที่แล้ว อ่านเพิ่มเติม “ปูนใหญ่เล็กไปแล้ว”

ประสาร ไตรรัตน์วรกุล

ผมเป็นคนหนึ่งที่คิดว่า ดร.ประสาร ไตรรัตน์วรกุล   มีความเหมาะสมในตำแหน่งผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทยในสถานการณ์ปัจจุบัน

 

ไม่เพียงเขามีความพร้อมด้วยความรู้และ ประสบการณ์พื้นฐานที่จำเป็นในตำแหน่งสำคัญนี้เท่านั้น หากมีประสบการณ์ในภาคเอกชน  ย่อมจะทำให้ผู้กำกับนโยบายแห่งรัฐในยุคทุนนิยมนั้น มองภาพอย่างสมดุลมากขึ้น

ที่สำคัญอีกประการหนึ่งเขาคือคนรุ่นเดียวกับผู้มีบทบาททางสังคม และการเมืองยุคปัจจุบัน  ยุคความขัดแย้งแตกแยกทางความคิดกันอย่างมากยุคหนึ่ง นอกจากเขาจะมองเห็นภาพใหญ่แห่งการเปลี่ยนเปลงทางสังคมแล้ว ยังสามารถมี บทสนทนากับผู้นำกลุ่มต่างๆในยามจำเป็นด้วย อ่านเพิ่มเติม “ประสาร ไตรรัตน์วรกุล”

กลุ่มไทยเจริญ(3)สายสัมพันธ์ใหม่

 

จะโดยตั้งใจหรือไม่ก็ตาม กระบวนการเข้าสู่ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ของกลุ่มไทยเจริญอย่างครึกโครม  เป้นความพยายามก้าวข้ามพรมแดนธุรกิจ จากความสัมพันธ์อันแนบแน่นกับกลไกรัฐ   ไปสู่การสร้างสายสัมพันธ์ใหม่กว้างขวางขึ้นในสังคมธุรกิจไทย  อ่านเพิ่มเติม “กลุ่มไทยเจริญ(3)สายสัมพันธ์ใหม่”